การจัดองค์การ
ความหมายของการจัดองค์การ
มีผู้ให้คำนิยาม คำว่า " การจัดองค์การ " ไว้หลายท่าน ดังนี้Edwin B.Flippo ( 1970 : 129 ) กล่าวไว้ว่า การจัดองค์การ หมายถึง การจัดความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ คือ ตัวบุคคลและหน้าที่การงาน เพื่อรวมกันเข้าเป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถทำงานบรรลุเป้าหมายได้
ธงชัย สันติวงษ์ ( 2537 : 63 ) กล่าวไว้ว่า การจัดองค์การ คือ การจัดระเบียบกิจกรรมให้เป็นกลุ่มก้อนเข้ารูป และการมอบหมายงานให้คนปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของงานที่ตั้งไว้ การจัดองค์การจะเป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบความรับผิดชอบต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ทุกคนต่างฝ่ายต่างทราบว่า ใครต้องทำอะไร และใครหรือกิจกรรมใดต้องสัมพันธ์กับฝ่ายอื่นๆอย่างไรบ้าง
สมคิด บางโม ( 2538 : 94 ) กล่าวไว้ว่า การจัดองค์การ หมายถึง การจัดแบ่งองค์การออกเป็นหน่วยงานย่อยๆให้ครอบคลุมภารกิจและหน้าที่ขององค์การ พร้อมกำหนดอำนาจหน้าที่และความสัมพันธ์กับองค์กรย่อยอื่นๆไว้ด้วย ทั้งนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
Organizing หมายถึง การจัดระเบียบงาน จัดโครงสร้างการบริหารงาน
การประสานงานระหว่างบัคคลและหน่วยงานต่างๆอำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชา
กับความรับผิดชอบของงาน ให้รู้ว่า
- ใคร ทำงานอะไร (What)
- ใคร รายงานต่อใคร (Who)
ประกอบด้วย
- การแบ่งงาน
- การมอบหมายงาน
- การจัดสรรทรัพยากร
- การประสานงาน
- ใคร ทำงานอะไร (What)
- ใคร รายงานต่อใคร (Who)
ประกอบด้วย
- การแบ่งงาน
- การมอบหมายงาน
- การจัดสรรทรัพยากร
- การประสานงาน
วัตถุประสงค์ของการจัดองค์การ
1. เพื่อแบ่งงานกันทำ
โดยแยกงานออกเป็นแต่ละงานส่วน แต่ละแผนก แต่ละหน่วย เป็นกลุ่มตามลักษณะงานเช่น
2. เพื่อมอบหมายงานและความรับผิดชอบให้แต่ละคนทำตามความรู้
ความถนัด
3. เพื่อกำหนดการประสานงานต่างๆให้ดำเนินไปอย่างสอดคล้องกันตั้งแต่เริ่มต้นจนงานเสร็จ
4. เพื่อกำหนดสายการบังคับบัญชา
อำนาจ หน้าที่อย่างเป็นทางการ
5. เพื่อจัดสรร และใช้ทรัพยากรขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ
5. เพื่อจัดสรร และใช้ทรัพยากรขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ
พื้นฐานของการจัดองค์การ
การรวมกัน (Integration) ของความแตกต่างกัน (Differentiation) เข้าด้วยกันอย่างสอดคล้องกัน
เพื่อก่อประโยชน์สูงสุดตามวัถตุประสงค์ขององค์การ
(ความแตกต่างในที่นี้หมายถึง ทักษะ วิธีทำงาน แนวคิด เป้าหมาย ระยะเวลา โครงสร้างองค์การ ค่านิยม)
โครงสร้างองค์การ (Organization Structure) เป็นระบบการติดต่อสื่อสารและอำนาจในการบังคับบัญชา
โครงสร้างองค์การที่เป็นทางการ (Formal Organization ) จะแสดงให้เห็นว่าใครบังคับบัญชาใครใครต้องรายงานใคร
โครงสร้างองค์การที่ไม่เป็นทางการ (Informal Organization) เครือข่ายความสัมพันธ์ส่วนตัว ไม่ปรากฏในผังการจัดองค์การ
(ความแตกต่างในที่นี้หมายถึง ทักษะ วิธีทำงาน แนวคิด เป้าหมาย ระยะเวลา โครงสร้างองค์การ ค่านิยม)
โครงสร้างองค์การ (Organization Structure) เป็นระบบการติดต่อสื่อสารและอำนาจในการบังคับบัญชา
โครงสร้างองค์การที่เป็นทางการ (Formal Organization ) จะแสดงให้เห็นว่าใครบังคับบัญชาใครใครต้องรายงานใคร
โครงสร้างองค์การที่ไม่เป็นทางการ (Informal Organization) เครือข่ายความสัมพันธ์ส่วนตัว ไม่ปรากฏในผังการจัดองค์การ
ผังองค์การ (Organization Chart)
- การแบ่งงาน
- สายการบังคับบัญชา
- การติดต่อสื่อสาร
- ตำแหน่งงานที่สำคัญ
- ระดับของการบริหาร
.jpg)
การจัดแผนกงานตามหน้าที่
(Departmentalization
by function)
เป็นการจัดรวมกลุ่มงานที่มีลักษณะหน้าที่เหมือนกันไว้เป็นหน่วยเดียวกัน
เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายตลาด ฝ่ายบัญชี ฝ่ายทรัพยากรบุคคลนิยมมากในบริษัทที่ผลิตสินค้าประเภทเดียว
หรือน้อยประเภท
การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์
(Departmentalization
by products)
การจัดรวมงานให้เป็นกลุ่มโดยใช้ผลิตภัณฑ์
เช่น แผนกเครื่องซักผ้า แผนกเครื่องเสียง แผนกคอมพิวเตอร์ แผนกทีวี
แผนกเครื่องปรับอากาศเหมาะสำหรับบริษัทที่ผลิตสินค้าหลายชนิด
แต่ละชนิดมีปริมาณการผลิตค่อนข้างสูงคล้ายมีหลายบริษัท มีหลายแผนกในตัว
การแบ่งงานมีส่วนพัฒนาผู้บริหาร
- การติดต่อสื่อสาร
- ตำแหน่งงานที่สำคัญ
- ระดับของการบริหาร
.jpg)
การจัดแผนกงานตามหน้าที่
(Departmentalization
by function)
เป็นการจัดรวมกลุ่มงานที่มีลักษณะหน้าที่เหมือนกันไว้เป็นหน่วยเดียวกัน
เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายตลาด ฝ่ายบัญชี ฝ่ายทรัพยากรบุคคลนิยมมากในบริษัทที่ผลิตสินค้าประเภทเดียว
หรือน้อยประเภท
การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์
(Departmentalization
by products)
การจัดรวมงานให้เป็นกลุ่มโดยใช้ผลิตภัณฑ์
เช่น แผนกเครื่องซักผ้า แผนกเครื่องเสียง แผนกคอมพิวเตอร์ แผนกทีวี
แผนกเครื่องปรับอากาศเหมาะสำหรับบริษัทที่ผลิตสินค้าหลายชนิด
แต่ละชนิดมีปริมาณการผลิตค่อนข้างสูงคล้ายมีหลายบริษัท มีหลายแผนกในตัว
การแบ่งงานมีส่วนพัฒนาผู้บริหาร
การจัดแผนกงานตามพื้นที่
(Departmentalization
by territory)
เหมาะ
สำหรับองค์การที่มีกิจการกระจายไปในพื้นที่ที่ห่างไกล เช่น ภาคเหนือ ภาคอีสาน
ภาคใต้ ภาคกลาง แต่อาจเกิดการซ้ำซ้อนในการใช้ทรัพยากร
การแบ่งแผนกงาน
(Departmenttation)
เป็นการจัดแบ่งโครงสร้างตามกระบวนการ : แบ่งตามสายงานการผลิต หรือเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้
การจัดแผนกงานตามลูกค้า
(Departmentalization
by customer)
การแบ่งตามความสนใจและความต้องการของลูกค้า
เช่น ลูกค้าจ่ายสด ลูกค้าเครดิต ลูกค้าราชการ ลูกค้าองค์การ
สามารถตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ดีขึ้นผจก.แต่ ละแผนกมักเรียกร้องเงื่อนไขพิเศษ เช่นค่าคอมมิทชั่น หรือเปอร์เซ็นต์ในการขาย เพื่อให้แผนกของตนตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีขึ้น ทำให้แนวปฎิบัติเป็นไปอย่างไม่เสมอภาค
การจัดแผนกงานตามโครงการ
(Departmentalization
by project)
ใช้กับงานที่ค่อนข้างจะอิสระ
มีช่วงเวลาจำกัดและมีเป้าหมายที่ชัดเจนเช่น โครงการที่ดินจัดสรร
โครงการบ้านพักอาศัย
โครงการอาคารพาณิชย์การมีผู้รับผิดชอบโดยตรงแต่ละโครงการทำให้ปัญหาต่างๆได้รับความสนใจ
และแก้ไขได้ทันเวลาจัดแบ่งแผนกงานตามเวลา :
มีเฉพาะในระดับล่างขององค์การทำงานสองหรือสามกะ
หัวหน้าและพนักงานแต่ละชุดสำหรับงานแต่ละกะจัดแบ่งแผนกงานตามจำนวนคน :
มักจะมีอยู่ในระดับล่างขององค์การ
ใช้กับงานที่ต้องอาศัยแรงหรือกำลังของคนงานเป็นหลัก
หัวหน้างานจะพิจารณาว่างานใดต้องใช้คนงานเท่าใด เช่นขุดลอกคลอง สายละ 20 คน หน.1คน
องค์การโดยการจัดโครงสร้างแผนก
1.การจัดโครงสร้างแผนก
โดยยึดตามลักษระโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ บริการหรือตลาดที่คล้ายกัน
2.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษระงานที่คล้ายคลึงกัน jop process
3.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษณะของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่าง
ระดับการจัดองค์การ และขนาดการจัดการ จุดประสงค์ของการจัดองค์การ คือเพื่อให้ผู้บริหารต้องการให้พนักงานในระดับต่างๆได้ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิธิภาพ การทำงานก็จะไม่เกิดความขัดแย้งและไม่มีอุสรรคในการทำงานการเลือกขนาดในองค์การทุกองค์การ ผู้บริหารหรือผู้ประกอบการจะต้องศึกษาพิจารณาถึงโครงสร้างขององค์การของตนเอง ว่ามีความซับซ้อนเพียงใด หรือมีสายบังคับบัญชากี่ระดับชั้นการจัดองค์การที่ดีและเหมาะสม จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆทำให้งานไม่ซับซ้อน ไม่มีแผนงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วยองค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายตามความจำเป็นการแบ่งงานให้พนักงานอย่างเหมาะสม ช่วยให้พนักงานมีความพอใจ ไม่เกิดความรู้สึกว่างานมากเกินไป หรือน้อยเกินไป เมื่อพนักงานรู้อำนาจหน้าที่ และขอบเขตงานของตนย่อมก่อให้เกิดความคิดริเริ่มในการทำงานเข้าใจความสัมพันธ์ของตนต่อฝ่ายอื่นๆ ทำให้เราสามารถติดต่อกันได้ดียิ่งขึ้น
2.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษระงานที่คล้ายคลึงกัน jop process
3.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษณะของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่าง
ระดับการจัดองค์การ และขนาดการจัดการ จุดประสงค์ของการจัดองค์การ คือเพื่อให้ผู้บริหารต้องการให้พนักงานในระดับต่างๆได้ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิธิภาพ การทำงานก็จะไม่เกิดความขัดแย้งและไม่มีอุสรรคในการทำงานการเลือกขนาดในองค์การทุกองค์การ ผู้บริหารหรือผู้ประกอบการจะต้องศึกษาพิจารณาถึงโครงสร้างขององค์การของตนเอง ว่ามีความซับซ้อนเพียงใด หรือมีสายบังคับบัญชากี่ระดับชั้นการจัดองค์การที่ดีและเหมาะสม จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆทำให้งานไม่ซับซ้อน ไม่มีแผนงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วยองค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายตามความจำเป็นการแบ่งงานให้พนักงานอย่างเหมาะสม ช่วยให้พนักงานมีความพอใจ ไม่เกิดความรู้สึกว่างานมากเกินไป หรือน้อยเกินไป เมื่อพนักงานรู้อำนาจหน้าที่ และขอบเขตงานของตนย่อมก่อให้เกิดความคิดริเริ่มในการทำงานเข้าใจความสัมพันธ์ของตนต่อฝ่ายอื่นๆ ทำให้เราสามารถติดต่อกันได้ดียิ่งขึ้น

สายการบังคับบัญชา
(Chain
of Command)
หมายถึง สายการสั่งการ และรายงานผลการปฏิบัติงานตามลำดับภายในองค์การตั้งแต่ระดับบนสุดจนถึงล่างสุดขอบเขต
หรือขนาดการควบคุม (Span
of Control)หมายถึง จำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาที่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้บริหารหนึ่งคน
ผ่านบุคคลหลายระดับจำเป็นต้องสูงนักเนื่องจากต้องผ่านหลายระดับ ถ้าช่วงการบังคับบัญชาแคบมากๆ ทำให้ระดับการบริหารมีมากระดับ จำนวนผู้บริหารมาก รายจ่ายมาก
สรุปได้ว่า การจัดองค์การ
หมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างส่วนงานต่างๆ และบุคคลในองค์การ
โดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้ง
เพื่อให้การดำเนินงานตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
สืบค้นวันที่ 8
พศจิกายน 2560
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น